การเขียนบรรณานุกรมอย่างถูกต้อง

การเขียนบรรณานุกรมนั้นเป็นสิ่งที่สามารถทำได้ง่ายมากซึ่งบางคนที่ไม่เคยผ่านการเขียนบรรณานุกรมมานั้นอาจจะคิดว่าการเขียนบรรณานุกรมเป็นเรื่องที่ยาก และบรรณานุกรมก็คือเอกสารอ้างอิงในสิ่งต่างๆที่เรานั้นใช้เพื่ออ้างอิงสิ่งที่เราจัดทำขึ้น ไม่ว่าจะเป็นชื่อหนังสือ ชื่อผู้แต่งแต่ง แหล่งที่มา

และรายละเอียดเกี่ยวกับหนังสือหรือสิ่งที่เรานั้นต้องการที่จะอ้างอิงโดยส่วนใหญ่แล้วการจัดทำบรรณานุกรมขึ้นมานั้นก็เพื่อกล่าวอ้างแหล่งที่มาที่ไปของหนังสือเพื่อให้ผู้อ่านได้ทราบถึงสิ่งเหล่านั้นว่าสามารถเดขึ้นได้ย่างไร โดยบรรณานุกรมเป็นสิ่งที่จะเป็นที่หนังสือทุกเล่มที่มีการตีพิมพ์จะต้องมีสิ่งนี้ไม่เช่นนั้นก็จะไม่สามารถตีพิมพ์ออกมาเป็นเล่มเพื่อจำหน่ายได้ โดยการเขียนบรรณานุกรมนั้นสามารถเขียนได้โดย

การจำหลักในการเขียนบรรณานุกรมอย่างถูกต้อง เพื่อที่จะทำให้เราสามารถอ้างอิงสิ่งต่างๆที่มีการตีพิมพ์ได้อย่างถูกต้องและครบถ้วน โดยหลักการในการเขียนนั้นก็คือ การเขียนบรรณานุกรมไว้ในหน้าสุดท้ายของหนังสือหรือรายงานที่เราทำหริอหนังสือที่มีการตีพิมพ์ การเรียงลำดับตัวอักษรตัวแรกของชื่อผู้แต่ง ในกรณที่ผุ้แต่งหนังสือหรือผู้ที่จัดทำรายงานขึ้นมานั้นมีเพียงคนเดียว

ก็ไม่จำเป็นจะต้องมีการเรียงชื่อเพราะมีผู้ทำเพียงคนเดียวเท่านั้น แต่ในกรณที่มีผู้จัดทำ ผู้แต่งหรือผู้ที่เราต้องการจะอ้างอิงในบรรณานุกรมหลายคนหรือหลายแหล่งที่มา ก็อาจจะต้องมีการเรียงชื่อตามลำดับตัวอักษร คือ ก-ฮ นั่นเองและในแต่ละชื่อผู้แต่งหรือผู้ที่มีการอ้างอิงถึงนั้นก้จะต้องมีการแบ่งออกเป็นชื่อแต่ชื่อโดยการขึ้นบรรทัดใหม่ทุกครั้งและมีการย่อหน้าจากบรรทัดแรกประมาณ 8 ตัวอักษร เป็นจะเป็นวรคเพื่อมห้ดูสวยงามและอ่านเข้าใจง่าย

รายละเอียกที่จะต้องทำการเขียนลงไปในบรรนานุกรมและเป็นสิ่งที่สำคัญถ้าหากพลาดสิ่งใดสิ่งหนึ่งไปนั้นก็จะทำให้บรรณานุกรมเป็นบรรณานุกรมที่ไม่ครบถ้วนและสมบูรณ์แบบ ไม่ว่าจะเป็น ชื่อผู้แต่งามสภุล ชื่อหนังสือจะต้องมีการขีดเส้นใต้และพิมพ์ตัวอักษรด้วยตัวหน้า จำนวนครั้งในกรพิมพ์ เช่น พิมพ์ครั้งที่ 2 โดยจะใช้ก็ต่อเมื่อมีการตีพิมพ์สองครั้งขึ้นไปครั้งแรกไม่จพเป็นต้องลงรายละเอียด

สถานที่ในการพิมพ์ และในใช้เครื่องหมาย , จุลภาคในการลงรายละเอียดของโรงพิมพ์ ยกตัวอย่างเช่น กรุงเทพมหานคร, สมนึกการพิมพ์ เป็นต้น และปีที่พิมพ์การลงรายละเอียดปีที่พิมพ์นั้นก็เพื่อให้ทราบว่าหนังสื่อแต่ะเบ่มมีการตีพิมพ์ในปีไหนเพื่อเก็บเป็นข้อมูลและสามารถค้นหาได้ง่ายเมื่อมีการจัดเก็บที่หลายปีหรือจัดเก็บนานๆ 

ตัวอย่างในการเขียนบรรณานุกรมที่ถูกต้องอย่างเข้าใจง่ายและสามารถที่จะนำไปเขียนในการอ้างอิงบรรณานุกรมในการทำรายงานหรือการเขียนหนังสือได้ ชื่อผู้แต่ง.ชื่อหนังสือ(จะต้องใช้เป็นตัวอีกษรตัวหนาเท่านั้น.พิมพ์ครั้งที่?.สถานที่พิมพ์ โรงพิมพ์,ปีที่พิมพ์ ? เพียงเท่านี้ก็จะทำให้เรานั้นสามารถเขียนบรรณานุกรมในการทำหนังสือและการทำรายงานได้แล้วเห็นไหมว่าการเขียนบรรณานุกรมเป็นเรื่องที่ง่ายนิดเดียว

 

สนับสนุนโดย    สมัครใหม่ รับเครดิตฟรี 100